มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Nakhon Si Thammarat Rajabhat University

ม.ราชภัฏนครฯ ได้รับทุน Flagship 20 และ 21 จากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) งบประมาณ 19,000,000 บาท




มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชได้รับทุน Flagship 20 และ 21 จากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) งบประมาณ 19,000,000 บาท

1) Flagship 20 ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการทรัพยากรและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนของวิสาหกิจชุมชน/OTOP อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช” ได้รับงบประมาณจำนวน 9,000,000 บาท ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรศักดิ์ แก้วอ่อน หัวหน้าแผนฯ

2) Flagship 21 มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ กรอบการวิจัย Local Enterprise ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภา-ขนมลา สู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืนตามอัตลักษณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช” ได้รับงบประมาณจำนวน 10,000,000 บาท ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมรักษ์ รอดเจริญ หัวหน้าแผน
รวมทั้งสิ้น 19,000,000 บาท

1. Flagship 20 ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การจัดการทรัพยากรและพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนของวิสาหกิจชุมชน/OTOP อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช”
ผู้บริหารแผนโครงการวิจัย
1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรศักดิ์ แก้วอ่อน หัวหน้าแผน
2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมรักษ์ รอดเจริญ กรรมการ
3) ดร.ธัชชา สามพิมพ์ กรรมการและเลขานุการ
โครงการวิจัยย่อย
1) การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพสำหรับสร้างเส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อพัฒนาสู่แหล่งการท่องเที่ยวชุมชน นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร.จุฑามาศ ศุภพันธ์ ผศ.ดร.วีระเกียรติ ทรัพย์มี ผศ.ดร.จุติพร อัศวโสวรร นายจรัล ด้วงแป้น นายพัฒนพร รินทจักร และดร.วรวิทู มีสุข
2) กระบวนการสร้างคุณค่านวัตกรชาวบ้านด้วยกิจกรรมทางศิลปะและออกแบบแบบมีส่วนร่วมของชุมชนอำเภอนบพิตำ อำเภอพิปูนและอำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วยผู้ช่วยศาสตราจารย์แฉล้ม สถาพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาสกร ทองขุนดำ อาจารย์ตมิสา ทิพยะ และนายธวัชชัย หลินมา
3) นวัตกรรมการสื่อสารเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาแงะ ตำบลนาเหรง อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร.ปรีดา นัคเร ผศ.ดร.ลดาวัลย์ แก้วสีนวล นางสาวปาริฉัตร ศรีหะรัญ และนายเมธาวัตร ภูธรภักดี
4) การยกระดับและสื่อสารรำโทนนกพิทิดสู่กิจกรรมการท่องเที่ยวและหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อสร้างประสบการณ์นักท่องเที่ยวและส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน ตำบลกรุงชิง อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ดร.เมธาวี จำเนียร ผศ.กรกฎ จำเนียร อ.ทองพูล มุขรักษ์ อ.ศศิพัชร บุญขวัญ อ.ประภาศรี เพชรมนต์ และอ.ปาริฉัตร ศรีหะรัญ
5) การใช้สีย้อมธรรมชาติในการทำผ้ามัดย้อมสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามอัตลักษณ์ท้องถิ่นเพื่อยกระดับรายได้ชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร.จุติพร อัศวโสวรรณ ผศ.ดร.จุฑามาศ ศุภพันธ์ ผศ.จรุงใจ มนต์เลี้ยง อ.สาวิมล รอดเจริญ และอ.พิมพ์ลภัส จิตต์ธรรม
6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรเพื่อยกระดับรายได้ชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย นายประกิต ไชยธาดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จุติพร อัศวโสวรรณ นางสาวเบญจพร จันทรโคตร นายมานพ แก้วชัด นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ และนางอวยพร ชูแก้ว
7) การพัฒนาและยกระดับสินค้าโอทอปกลุ่มกล้วย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดอย่างยั่งยืน จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บำรุง ศรีนวลปาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันดี แก้วสุวรรณ และอาจารย์จรุ ถิ่นพระบาท
8) การศึกษากรรมวิธีการคั่วและพัฒนานวัตกรรมเครื่องคั่วเพื่อเพิ่มมูลค่าลูกประ นักวิจัยประกอบด้วย นายรวิศ คำหาญพล นายวิทยา วงษ์กลาง นายกรีฑา แก้วคงธรรม นางสาวจารุวรรณี ไชยพรรณ ดร.นฤมล มีบุญ และ ดร.เยาวมาลย์ เขียวสะอาด
9) การพัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์นมประเชิงพาณิชย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร. จุรีภรณ์ นวนมุสิก ผศ. วราศรี แสงกระจ่าง ผศ.ดร. ปิยพร ศรีสุขสวัสดิ์ ดร. จตุพร คงทอง ผศ. ปวีณา ปรวัฒน์กุล นายตรีฤกษ์ เพชรมนต์ และนางสาวสุภาวิณี ยอดพิจิตร
10) นวัตกรรมการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าเมล็ดประให้เป็นอาหารเอกลักษณ์ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชนักวิจัยประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราศรี แสงกระจ่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรีภรณ์ นวนมุสิก ดร. จันทิรา วงศ์วิเชียร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยพร ศรีสุขสวัสดิ์ และนายตรีฤกษ์ เพชรมนต์
11) รูปแบบการเพิ่มมูลค่าอาหารพื้นถิ่นเพื่อหนุนเสริมการท่องเที่ยว อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราชนักวิจัยประกอบด้วย อ.นุชนารถ กฤษณรมย์ อ.นิภารัตน์ นักตรีพงศ์ ดร.กาญจนพรรณ จรพงศ์ อ.ศศิพัชร บุญขวัญ อ.ชฎาภรณ์ ณ นคร และ อ.นัตติกานต์ สมนึก
12) นวัตกรรมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัยเพื่อเพิ่มรายได้การท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย อ.ตรีฤกษ์ เพชรมนต์ อ.ประภาศรี เพชรมนต์ ผศ.พัชรินทร์ โสมปาน ผศ.ดร.ศิริพร หมื่นหัสถ์ และ อ.ปาริฉัตร ศรีหะรัญ
13) การวิเคราะห์เศรษฐกิจฐานราก การกระจายรายได้ และมูลค่าสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนของวิสาหกิจชุมชน/OTOP รอบเขตเทือกเขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วยดร. ศณัทชา ธีระชุนห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมรักษ์ รอดเจริญ และ ดร. ธัชชา สามพิมพ์

2) Flagship 21 มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ กรอบการวิจัย Local Enterprise ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภา-ขนมลา สู่การพัฒนาชุมชนนวัตกรรมอย่างยั่งยืนตามอัตลักษณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช”
ผู้บริหารแผนโครงการวิจัย
1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมรักษ์ รอดเจริญ หัวหน้าแผน
2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรศักดิ์ แก้วอ่อน กรรมการ
3) ดร.ธัชชา สามพิมพ์ กรรมการ
3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วราศรี แสงกระจ่าง กรรมการและเลขานุการ
โครงการวิจัยย่อย
กลุ่มผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภา
1) การอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจักสานย่านลิเภา จังหวัดนครศรีธรรมรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร. ศิริพร หมื่นหัสถ์ ผศ.ดร.วีรวรรณ จงจิตร ศิริจิรกาล ดร.ปิยพร ศรีสุขสวัสดิ์ อาจารย์โสภณ ชุมทองโด และผศ.ดร.สมพร เรืองอ่อน
2) การสร้างช่างถมพันธ์ใหม่เพื่อการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภาจังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์ชัชวาลย์ รัตนพันธุ์
3) การพัฒนาเครื่องจักตอกรีดเส้นย่านลิเภาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ย่านลิเภาสู่สากล นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์อนุรักษ์ ตรีเพ็ชร และผศ.ปริญญา หม่อมพิบูลย์
4) การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภาร่วมสมัยเพื่อสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ณปภัช จันทร์เมือง และอาจารย์อัจฉรสิริ อนุมณี
5) การพัฒนาลวดลายผลิตภัณฑ์จักสานย่านลิเภาสู่สากล นักวิจัยประกอบด้วย รศ.ดร. อรอนงค์ บุญคล่อง ดร.จุรีรัตน์ เสนาะกรรณ และอาจารย์ชัชวาลย์ รัตนพันธุ์
6) การพัฒนาสื่อใหม่เพื่อสื่อสารตราสินค้า และการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับรูปแบบภูมิปัญญาย่านลิเภา จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร. บำรุง ศรีนวลปาน ผศ.ดร. ชวัลรัตน์ ศรีนวลปาน อาจารย์ตวงรัก รัตนพันธุ์ และอาจารย์โสภณ ชุมทองโด
7) การพัฒนากลยุทธ์การตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ผลิตภัณฑ์ย่านลิเภา จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์ปาริฉัตร ศรีหะรัญ ผศ.ดร. สุภาวดี พรหมมา
ดร. เมธาวี จำเนียร อาจารย์ตรีฤกษ์ เพชรมนต์ อาจารย์นุชนารถ กฤษณรมย์ และอาจาราย์อมรรัตน์ ชวลิต
8) การพัฒนาห่วงโซ่คุณค่า (value chain) และการกระจายรายได้ของกลุ่มจักสานย่านลิเภา นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.พัชรินทร์ โสมปาน ดร. ศณัทชา ธีระชุนห์ ผศ.สุชาดา การะกรณ์ และอาจารย์ ฐิติมา บูรณวงศ์
กลุ่มผลิตภัณฑ์ขนมลา
9) การศึกษาข้อมูลด้านคติชนวิทยาของขนมลาลุ่มน้ำปากพนังเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์เมธิรา ไกรนที อาจารย์ตวงรัก รัตนพันธุ์ อาจารย์ทัศนีย์ หมอสอน และอาจารย์ภาณุวัฒน์ เพชรโชติ
10) การใช้สารสกัดจากธรรมชาติเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขนมลาในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ดร.จันทิรา วงศ์วิเชียร และผศ.วราศรี แสงกระจ่าง
11) การพัฒนานวัตกรรมการผลิตขนมลากรอบด้วยเทคโนโลยีการอบแห้งจากคลื่นไมโครเวฟ นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.วราศรี แสงกระจ่าง ผศ.ดร. หมุดตอเล็บ หนิสอ และผศ.ดร. จุรีภรณ์ นวนมุสิก
12) การพัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ขนมลา จังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร. จุรีภรณ์ นวนมุสิก ผศ.วราศรี แสงกระจ่าง ดร.จตุพร คงทอง อาจารย์ตรีฤกษ์ เพชรมนต์ และนางสาวสุภาวิณี ยอดพิจิตร
13) การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียแบบติดกับที่สำหรับกระบวนการผลิตขนมลา นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์เอนก สาวะอินทร์ อาจารย์ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น ผศ.ดร. ชุตินุช สุจริต และผศ.ดร.สมรักษ์ รอดเจริญ
14) การออกแบบบรรจุภัณฑ์สร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ขนมลาเมืองนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์ตวงรัก รัตนพันธุ์ อาจารย์ชัชวาลย์ รัตนพันธุ์ และอาจารย์เมธิรา ไกรนที
15) แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และห่วงโซ่คุณค่าของขนมลา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช นักวิจัยประกอบด้วย อาจารย์ฐิติมา บูรณวงศ์ และดร.ศณัทชา ธีระชุนห์
16) การผลิตสื่อสมัยใหม่เล่าเรื่องขนมลาเพื่อส่งเสริมการตลาดและสืบสานวัฒนธรรม นักวิจัยประกอบด้วย ผศ.กรกฎ จำเนียร ดร.เมธาวี จำเนียร อาจารย์ตรีฤกษ์ เพชรมนต์ อาจารย์ปาริฉัตร ศรีหะรัญ อาจารย์ปัญจพร เกื้อนุ้ย และอาจารย์ศศิพัชร บุญขวัญ


คำสำคัญ


ข่าวที่เกี่ยวข้อง


https://www.nstru.ac.th//resources/content/4/2016-06-20-11-22-390.62449100%201466396559logo_nstru.png 1 ม. 4 ต.ท่างิ้ว อ.เมืองนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 80280 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (Nakhon Si Thammarat Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2500 ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช Nakhon Si Thammarat Rajabhat University 075-392040 www@nstru.ac.th